อธิบายเกี่ยวกับไฟล์ที่บริการโหลด :
คู่มือ
การปฏิบัติงานตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๖
และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙
ด้วยปัจจุบันสถานการณ์ภัยพิบัติมีแนวโน้มความรุนแรงมากขึ้น และกระจายเป็นบริเวณกว้างประกอบกับกระทรวงการคลัง ได้มีการประกาศใช้ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๖ แทนระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ซึ่งได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ และมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ต่อมาได้ปรับปรุงแก้ไขระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๖ โดยกำหนดเป็นระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙ ซึ่งได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่๒๗ พฤษภาคม ๒๕๕๙ และมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๕๙ เป็นต้นมา ประกอบกับได้มีการปรับปรุงแก้ไขหลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๖กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในฐานะเป็นหน่วยงานกลางของรัฐ ในการดำเนินการเกี่ยวกับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของประเทศ จึงรวบรวมกฎหมาย ระเบียบ หลักเกณฑ์ หนังสือสั่งการข้อหารือที่เกี่ยวข้องกับการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติในกรณีต่างๆ เป็นคู่มือการปฏิบัติงาน
ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผ้ปู ระสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๖และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และสอดคล้องกับระเบียบและหลักเกณฑ์ที่กำหนดหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เจ้าหน้าที่และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานให้ความช่วยเหลือผ้ปู ระสบภยั พบิ ตั จิ ะได้นำ ค่มู ือการปฏิบัติงานฉบับนี้ไปศึกษา เพื่อสร้างความเขา้ ใจในระเบียบและหลักเกณฑ์ที่กำหนด และเกิดความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อไป
(นายฉัตรชัย พรหมเลิศ)
อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ส า ร บัญ
ส่วนที่ ๑ กฎหมาย ระเบียบ
b ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ๓
พ.ศ. ๒๕๕๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙
นิยาม ๔
หมวด ๑ เงินทดรองราชการ ๕
- ส่วนราชการที่มีวงเงินทดรองราชการ ๕
- การจัดสรรเงินทดรองราชการ ๕
- การอนุมัติให้ส่วนราชการอื่นมีวงเงินทดรองราชการและการขอขยาย ๕ วงเงินทดรองราชการ
- ผู้มีออำนาจอนุมัติจ่ายเงินทดรองราชการ ๕
- ยุติการอนุมัติจ่ายเงินทดรองราชการ ๖
หมวด ๒ คณะกรรมการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ ๖
- คณะกรรมการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติอำเภอ/กิ่งอำเภอ ๖
- คณะกรรมการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติจังหวัด ๗
- การประชุมคณะกรรมการ ๘
หมวด ๓ การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ ๘
- วัตถุประสงค์การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ ๘
- การใช้จ่ายเงินทดรองราชการในเชิงป้องกันหรือยับยั้งภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ๘
- การใช้จ่ายเงินทดรองราชการ กรณีภัยที่เกิดจากโรคหรือการระบาดของสัตว์ ๙ หรือพืชทุกชนิด
- การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ๙
- การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๙
- การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติในจังหวัดอื่น ๑๐
- การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติของกระทรวงกลาโหม ๑๑
- การขอรับการสนับสนุนการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ ๑๑
ก - ๑
หมวด ๔ การจ่ายและการชดใช้เงินทดรองราชการ ๑๒
- การจ่ายเงินทดรองราชการ ๑๒
- การขอรับโอนเงินงบประมาณรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินทดรองราชการ ๑๒
หมวด ๕ การจัดหาและการควบคุมพัสดุ ๑๓
- การจัดหาพัสดุ ๑๓
- การตรวจรับและการควบคุมพัสดุ ๑๔
หมวด ๖ การตรวจสอบติดตามการใช้จ่ายเงินทดรองราชการ ๑๔
- คณะผู้บริหารการคลังประจำจังหวัด (คบจ.) ๑๔
- คณะกรรมการตรวจสอบติดตามการใช้จ่ายเงินทดรองราชการกระทรวงการคลัง ๑๕
บทเฉพาะกาล ๑๕
b หลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๖ ๑๗
- ด้านการดำรงชีพ ๑๗
- ด้านสังคมสงเคราะห์ ๑๙
- ด้านการแพทย์และการสาธารณสุข ๑๙
- ด้านการเกษตร (ด้านพืช ด้านประมง ด้านปศุสัตว์ และด้านการเกษตรอื่น) ๒๐
- ด้านบรรเทาสาธารณภัย ๒๑
- ด้านการปฏิบัติงานให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย ๒๒
b หลักเกณฑ์วิธีปฏิบัติปลีกย่อยเกี่ยวกับการให้ความช่วยเหลือด้านการเกษตรผู้ประสบภัยพิบัติ ๒๕
กรณีฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๖
b ประกาศกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการใช้จ่าย ๓๐
เงินทดรองราชการเชิงป้องกันหรือยับยั้งภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ลงวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๖
b ประกาศกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการประกาศ ๓๓
เขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ลงวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๖
b ประกาศกระทรวงกลาโหม เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการให้ความช่วยเหลือ ๓๗
ผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ลงวันที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๕๕๖
b ข้อกำหนดกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยว่าด้วยวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับสิ่งของสำรองจ่าย ๓๙
ช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๔๗
b ประกาศกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เรื่อง รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะและกำหนด ๔๓
ราคากลางสิ่งของสำรองจ่าย พ.ศ. ๒๕๕๙
ก - ๒
b แนวทางปฏิบัติในการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินตามระเบียบกระทรวงการคลังฯ ๕๔
- แนวทางปฏิบัติในการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินตามระเบียบ ๕๔ กระทรวงการคลังฯ
- สรุปการใช้จ่ายเงินทดรองราชการในเชิงป้องกันหรือยับยั้งภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ๖๙(วงเงิน ๑๐ ล้านบาท) ในพื้นที่
จังหวัด
- สรุปการใช้จ่ายเงินทดรองราชการในการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ๗๑(วงเงิน ๒๐ ล้านบาท) ใน
พื้นที่จังหวัด
- สรุปอัตราค่าใช้จ่ายเงินช่วยเหลือผู้ประสบภัย ตามหลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงินทดรองราชการ ๗๔ เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบ
ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๖
- สรุปหลักเกณฑ์วิธีปฏิบัติปลีกย่อยเกี่ยวกับการให้ความช่วยเหลือด้านการเกษตรผู้ประสบ ๘๑ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
๒๕๕๖
- แผนผังการใช้จ่ายเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ๘๓
- แผนผังการประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ๘๔
- แผนผังขั้นตอนการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินในพื้นที่จังหวัด ๘๕
v เชิงป้องกันหรือยับยั้งภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (วงเงิน ๑๐ ล้านบาท) ๘๕
v เชิงบรรเทาความเดือดร้อน (วงเงิน ๒๐ ล้านบาท) ๘๖
v วงเงินในอำนาจอธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (เชิงบรรเทาความเดือดร้อน ๘๗ วงเงิน ๕๐ ล้านบาท)
ส่วนที่ ๒ หนังสือสั่งการ
- แนวทางปฏิบัติการนับระยะเวลาการจัดส่งใบสำคัญและเอกสารที่เกี่ยวข้องประกอบการขออนุมัติ ๙๑
งบประมาณรายจ่ายชดใช้เงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน
(หนังสือกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ด่วนที่สุด ที่ มท ๐๖๒๔/ว ๐๕๙๗๔
ลงวันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๕๙)
- แนวทางการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ (หนังสือกองบัญชาการป้องกันและบรรเทา ๙๕
สาธารณภัยแห่งชาติ ด่วนที่สุด ที่ มท ๐๖๒๒/ว ๕๕ ลงวันที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๙)
- ซักซ้อมแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้จ่ายเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ ๙๘
กรณีฉุกเฉิน (ภัยหนาว) (หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด ที่ มท ๐๖๑๗/ว ๖๔๔
ลงวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๕๘)
ก - ๓
- หลักเกณฑ์วิธีปฏิบัติในการจัดส่งเอกสารและการตรวจสอบเพื่อขอรับโอนเงินงบประมาณรายจ่าย ๑๐๐
ชดใช้เงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน
(หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๐๖.๓/ว ๓๕๙ ลงวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๘)
- แนวทางการพิจารณาขยายวงเงินทดรองราชการตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วย ๑๐๒
เงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๖
(หนังสือกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ที่ มท ๐๖๑๗/ว ๕๒๕๘ ลงวันที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๕๖)
- แนวทางการควบคุมวงเงินการเบิกจ่ายในระบบ GFMIS ตามระเบียบกระทรวงการคลัง ๑๒๑
ว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๖ เพิ่มเติม
(หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๒๐.๕/๐๙๙๑๘ ลงวันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๖)
- แนวทางปฏิบัติและขั้นตอนการส่งเอกสารประกอบการขออนุมัติเงินงบประมาณเพื่อชดใช้ ๑๒๔
เงินทดรองราชการของจังหวัด (เชิงบรรเทาความเดือดร้อน ๒๐ ล้านบาท)
(หนังสือกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ที่ มท ๐๖๑๗/ว ๙๒๓๓ ลงวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๖)
- แนวทางการใช้จ่ายงบประมาณเพื่อช่วยเหลือประชาชนกรณีเกิดสาธารณภัย ๑๒๙
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท ๐๘๐๘.๒/ว ๓๒๑๕ ลงวันที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๕๙)
- การรายงานเหตุด่วนสาธารณภัย ๑๓๑
(หนังสือสำนักเลขาธิการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ที่ มท ๐๖๐๖/ว ๘๑ ลงวันที่ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๖)
ส่วนที่ ๓ หนังสือตอบข้อหารือ
b ระเบียบ
นิยาม
นิยาม “สาธารณภัย”
- แนวทางการพิจารณา “ภัยพิบัติ” ตามระเบียบกระทรวงการคลังฯ พ.ศ. ๒๕๕๖ ๑๓๗
(หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๐๒.๔/๒๙๐๙๒ ลงวันที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๙)
- แนวทางพิจารณาสถานการณ์ภัยต่างๆ ๑๔๗
(หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๐๖.๓/๓๐๓๒๖ ลงวันที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๕๗)
- ลักษณะดินในพื้นที่เพาะปลูกไม่เหมาะสม จ.นครพนม ๑๕๒
(หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๐๖.๓/๑๗๓๕๑ ลงวันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๙)
ก - ๔
- ปลาในกระชังตาย จ.เลย, อุบลราชธานี ๑๕๖
(หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค ๐๔๐๖.๓/๐๑๙๔๙ ลงวันที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๕๙)
- ประชาชนปลูกบ้านอยู่ในบริเวณที่สาธารณประโยชน์, รุกล้ำ/ใกล้แนวคันคลอง จ.นครนายก ๑๖๑
(หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๐๖.๓/๕๐๔๑๓ ลงวันที่ ๘ ตุลาคม ๒๕๕๘)
- น้ำทะเลหนุนสูง จ.นครปฐม, สมุทรสาคร ๑๖๕
(หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๐๖.๓/๐๓๘๖๙ ลงวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๕๘)
- หอยแครงในบ่อดินของเกษตรกรตาย สาเหตุจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม ๑๖๘จ.สมุทรสาคร
(หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๐๖.๓/๐๒๙๕๖ ลงวันที่ ๒๖ มกราคม ๒๕๕๘)
- ข้าวงอกเน่าเสียหายจากน้ำท่วมขัง จ.เชียงราย ๑๗๑
(หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค ๐๔๐๖.๓/๑๒๐๗๘ ลงวันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๕๗)
- เกษตรกรทำการเกษตรในเขตที่ดินของเขื่อนภูมิพล จ.เชียงใหม่ ๑๗๖
(หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค ๐๔๐๖.๓/๐๗๘๐๗ ลงวันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๕๗)
- เกษตรกรปลูกข้าวนาปีได้รับความเสียหายจากภัยแล้ง ก่อนการประกาศแจ้งเตือนการงดส่งน้ำ ๑๘๐
เข้าพื้นที่การเกษตร จ.พระนครศรีอยุธยา
(หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๐๖.๓/๐๗๗๙๑ ลงวันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๕๗)
- ความหมาย “ภัยแล้ง ภาวะฝนแล้ง และภาวะฝนทิ้งช่วง” ๑๘๔
(หนังสือกรมอุตุนิยมวิทยา ที่ ทก ๐๔๐๖/๙๘๓ ลงวันที่ ๗ มิถุนายน ๒๕๕๖)
- ศัตรูพืชระบาด (หนูนา จ.พัทลุง, หอยเชอรี่) ๑๘๗
(หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๐๖.๓/๑๙๓๔๑ ลงวันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๕๖)
- กุ้งก้ามกรามและปลานิลน็อคตาย (ภัยแล้ง) กรณีจังหวัดได้ประกาศแจ้งให้เกษตรกรทราบ ๑๙๒
ล่วงหน้าเพื่องดการเพาะปลูก เพาะเลี้ยงกุ้ง ปลาทุกชนิดในเขตพื้นที่ชลประทาน จ.กาฬสินธุ์
(หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๐๖.๓/๑๑๔๐๑ ลงวันที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๕๖)
- หอยแมลงภู่ที่เลี้ยงไว้ตาย เนื่องจากการแพร่ขยายของปรสิตชนิดหนอนตัวแบน ๑๙๖ จ.สมุทรสงคราม
(หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๐๖.๓/๔๘๐๖ ลงวันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๕๕)
- ดินริมตลิ่งแม่น้ำทรุดตัว จ.พิจิตร ๒๐๐
(หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนมาก ที่ กค ๐๔๐๖.๓/๐๘๓๘๕ ลงวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๕๕)
ก - ๕
- โรคไข้เลือดออก จ.อุตรดิตถ์, ศรีสะเกษ, สตูล ๒๐๓
(หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค ๐๔๐๖.๓/๒๙๓๖๑ ลงวันที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๒)
- ชุมนุมประท้วงปิดสนามบินสุวรรณภูมิ จ.สมุทรปราการ ๒๐๗
(หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๐๖.๓/๑๑๑๒๕ ลงวันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๕๒)
- ปลาตายเนื่องจากน้ำเสีย จ.ปราจีนบุรี ๒๑๑
(หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๐๖.๓/๐๙๐๖๑ ลงวันที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒)
นิยาม “ผู้ประสบภัย”
- เพลิงไหม้กุฏิวัด จ.หนองคาย ๒๑๕
(หนังสือกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ด่วนที่สุด ที่ มท ๐๖๑๗/๕๒๔๖ ลงวันที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๕๖)
- เกษตรกรเผาหญ้าหรือป่าทำให้เกิดไฟป่าลุกลามไหม้พืชผลการเกษตรของตนเอง ๒๑๗และผู้อื่นเสียหาย จ.เพชรบุรี
(หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๐๖.๓/๒๒๗๒๔ ลงวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๒)
- ผู้ประสบภัยพิบัติ ต้องมิใช่นิติบุคคล จ.เชียงราย ๒๒๑
(หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๐๙.๓/๒๐๘๙๙ ลงวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐)
- ผู้มิได้ถือสัญชาติไทย หากประสบภัยก็สามารถได้รับความช่วยเหลือ จ.นราธิวาส ๒๒๕
(หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๐๙.๓/๑๙๖๗๘ ลงวันที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๔๘)
อำนาจอนุมัติจ่ายเงินทดรองราชการ
- การมอบอำนาจให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครอนุมัติจ่ายเงินทดรองราชการ ๒๒๗
(หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๐๖.๓/๑๑๑๐ ลงวันที่ ๑๙ มกราคม ๒๕๕๕)
คณะกรรมการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย
- การแต่งตั้ง ก.ช.ภ.อ./ ก.ช.ภ.กอ. และ ก.ช.ภ.จ. จ.อุบลราชธานี ๒๓๑
(หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค ๐๔๐๖.๓/๐๗๕๐๖ ลงวันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๖)
การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน
วงเงินในเชิงป้องกันหรือยับยั้ง
- ไม่สามารถใช้จ่ายเงินทดรองราชการสร้างสิ่งก่อสร้างหรือสาธารณูปโภคที่ถาวร ๒๓๕
หรือก่อสร้างใหม่ได้ จ.ปราจีนบุรี
(หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค ๐๔๐๖.๓/๒๒๙๘๘ ลงวันที่ ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๙)
ก - ๖
- รถบรรทุกน้ำยางหกบนผิวจราจร ทำให้เกิดอุบัติเหตุทางถนน จ.เลย ๒๓๙
(หนังสือกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ที่ มท ๐๖๑๗/๓๘๖๗ ลงวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๘)
- โครงการเรียงหินใหญ่ป้องกันชายฝั่งทะเลถูกคลื่นกัดเซาะได้รับความเสียหาย จ.นราธิวาส ๒๔๑
(หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค ๐๔๐๖.๓/๓๘๗๖๗ ลงวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๗)
- อำนาจหน้าที่ในการใช้จ่ายเงินทดรองราชการในเชิงป้องกันหรือยับยั้งฯ ๒๔๕ (หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค
๐๔๐๖.๓/๔๑๑๒๓ ลงวันที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๕๖)
การประสานงานในการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ
- แนวทางการช่วยเหลือผู้ประสบภัย กรณีความซ้ำซ้อนของการช่วยเหลือ ๒๕๐
(หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค ๐๔๐๙.๓/๑๓๔๘๓ ลงวันที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๔๙)
ส่วนราชการหรือหน่วยงานอื่นของรัฐซึ่งไม่มีวงเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ
- โครงการชลประทานสงขลาสนับสนุนเครื่องสูบน้ำและผลักดันน้ำเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย ๒๕๔จ.สงขลา
(หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๐๖.๓/๐๘๓๔๕ ลงวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๕๗)
การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติในจังหวัด
- กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยและกระทรวงกลาโหมเป็นหน่วยงานที่มีวงเงินทดรอง ๒๕๘
ราชการจะต้องเบิกจ่ายจากเงินทดรองราชการของตนเอง และการเบิกจ่ายค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลา ค่าใช้จ่ายในการเดินทางแก่เจ้าหน้าที่ตามหลักเกณฑ์ฯ ข้อ ๕.๖.๕
(หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๐๖.๓/๓๘๘๖๐ ลงวันที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๖)
ประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน
- กรณีคลื่นลมแรง ทำให้ชาวประมงไม่สามารถนำเรือออกหาปลาได้ จ.นราธิวาส ๒๖๒
(หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๐๖.๓/๔๑๗๘๙ ลงวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๕๗)
- กรณียังไม่ทราบสาเหตุการเกิดอัคคีภัย รอผลการสอบสวนของคดีอาญา จ.ชลบุรี ๒๖๖
(หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๐๖.๓/๒๘๕๘๕ ลงวันที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๖)
- การประกาศเขตฯ และการมอบอำนาจลงนามในประกาศเขตฯ จ.สุรินทร์ ๒๗๐
(หนังสือกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ด่วนที่สุด ที่ มท ๐๖๑๗/๙๔๒๕ ลงวันที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๖)
(คลิกอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมที่ไฟล์ downlode)
|